วันอาทิตย์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2561

ส่วนประกอบงานวิชา การเขียนโปรแกรมคอมฯ ครั้งที่ 3

                            ใบรายงานผลการปฏิบัติงาน
Code

#include "LedControl.h"         // การอ่านไฟล์จากไดเร็กทอรี หรือโฟลเดอร์ที่กำหนดไว้
LedControl lc=LedControl(5,7,6,1); 

void show4digit(int num)     // การเขียนฟังก์ชั่นขึ้นมาโดยตั้งชื่อว่า  show4digit
{
   int seg1,seg2,seg3,seg4;   /ตัวแปรพื้นฐานที่เก็บตัวเลขโดยไม่มีจุดทศนิยม
  seg1 = ((num%1000)%100)%10;
  seg2 = ((num%1000)%100)/10;
  seg3 = (num%1000)/100;
  seg4 = num/1000;  
  lc.setDigit(0,0,seg1,false); 
  if (num>=10)
    lc.setDigit(0,1,seg2,false);    
    if (num>=100)  // คำสั่งในการตัดสินใจ แบบตัวเลือกเดียว โดยใช้งานร่วมกับ ==, !=, <, >เพื่อใช้ในการ                                                   ตัดสินใจในการหาคำ
        lc.setDigit(0,2,seg3,false);
    if (num>=1000)
        lc.setDigit(0,3,seg4,false);   
    delay(300);       //  การหน่วงเวลา 
}
void setup()  // ฟังก์ชั่นใช้ในการประกาศค่าเริ่มต้น
{
    Serial.begin(9600);   //ประกาศการใช้งานการสื่อสารรับส่งข้อมูลผ่าน พอร์ตRS232
    lc.shutdown(0,false);  
    lc.setIntensity(0,5); 
    lc.clearDisplay(0);       // ล้างหน้าจอ lcd
}
void loop()    // ฟังก์ชั่นใช้ในการเขียนโค้ดโปรแกรมการทำงานของArduinoเป็นฟังก์ชั่นการวนลูปไปเรื่อยๆ 
{
    int num;       /ตัวแปร  num
    num = analogRead(A0);     // เขียนค่าอนาล็อกที่ขา A0
    Serial.print("analogRead=");Serial.println(num);    
    lc.clearDisplay(0);
    show4digit(num);

}

ภาพจำลองการทำงานด้วยโปรแกรม Proteus


 อธิบายการทำงานของโปรแกรม

อ่านค่าตัว R เเล้วขึ้นค่าบน 7segment สามรถปรับค่า R ได้


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น